วันอังคารที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บันทึกครั้งที่ 11
วัน  อาทิตย์  ที่   22  พฤศจิกายน 2558
เวลาเรียน  13:00 - 17:00 น.

นื่้อหาที่ได้เรียน / ความรู้ที่ได้รับ
        เข้าอบรม "การแกะตัวปั้มจากยางลบ"



อุปกรณ์ที่ได้รับ
     1.ดินสอ
     2.มีดแกะตัวปั้ม
     3.ยางลบ
     4.คู่มือ
     5.ไม้กระดานสำหรับรอง


 ผลงานที่ทำออกมา

ประเมินตนเอง
 ตั้งใจทำผลงานของตัวเองให้ออกมาดีที่สุด   
ประเมินเพื่อน  
   เพื่อนตั้งใจตั้งใจฟังและตั้งใจแกะตัวปั้มของตนเองอย่างสุดความสามารถ
ประเมินอาจารย์ 
   อาจารย์และพี่ๆวิทยากร ใจดีและอธิบายขั้นตอนการทำอย่างละเอียด 

บันทึกครั้งที่ 10
วัน  จันทร์  ที่   2  พฤศจิกายน 2558
เวลาเรียน  14:30 - 17:30 น.


เนื้อหาที่ได้เรียน / ความรู้ที่ได้รับ
      อาจารย์ให้ประดิษฐ์สื่อจากสิ่งของวัสดุเหลืองใช้และนำเสนอผลงานในห้องเรียน
ชื่อ :  ราชสีห์กับหนู
ใช้สอน  : ใช้ในการเล่านิทานหรือ เรียนในหน่วยของสัวตว์
ทำจาก : แกนกระดาษทิชชู่







ประเมินตนเอง
  ตั้งใจทำงาน ภูมิใจในสื่อของตัวเอง
ประเมินเพื่อน
  เพื่อนตั้งใจทำสื่อของตัวเองเป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์
   อาจารย์ใจดี  สอนแบบให้อืสระกับนักศึกษาไม่กดดัน

บันทึกครั้งที่ 9
วัน  จันทร์  ที่   26  ตุลาคม  2558
เวลาเรียน  14:30 - 17:30 น.


เนื้อหาที่ได้เรียน / ความรุ้ที่ได้รับ
      อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มตามเดิม ช่วยกันทำเกมส์การศึกษา





 
คำคู่ภาพและเงา
จับคู่ภาพและเงา





แยกประเภท
แยกประเภท

สังเกต



















สังเกต



จับคู่ภาพเหมือน





















จับคู่ภาพเหมือน
ประเมินตนเอง
     ตั้งใจและช่วยเพื่อนทำงานอย่างดี
ประเมินเพื่อน
     เพื่อนๆตั้ใจทำงานที่ตนเองได้รับมอบหมาย รุ้จักหน้าที่ของตนเอง
ประเมินอาจารย์ 
     อาจารย์อธิบายขั้นตอนต่างๆได้เข้าใจง่าย
     

บันทึกครั้งที่ 8
วันจันทร์  ที่   19  ตุลาคม  2558
เวลาเรียน  14:30 - 17:30 น.

เนื้อหาที่ได้เรียน / ความรุ้ที่ได้รับ
      อาจารย์ให้นักศึกษาช่วยกันทำงานกลุ่มที่เหลือให้เสร็จ








ประเมินตนเอง
    ตั้งทำใจงานกลุ่มและช่วนเพื่อนทำงานเป็นอย่างดี
ประเมินเพื่อน
    เพื่อนๆ ต่างช่วยกันทำงานของกลุ่มตัวเองอย่างตั้งอกตั้งใจ
ประเมินอาจารย์
   อาจารย์ใจดี  ทำให้บรรยากาศในห้องน่าเรียน

บันทึกครั้งที่ 7
วัน  จันทร์  ที่  12  ตุลาคม 2558
เวลาเรียน  14:30 - 17:30 น.




------ขาดเรียน------


บันทึกครั้งที่ 6
วัน  จันทร์  ที่   5  ตุลาคม 2558
เวลาเรียน  14:30 - 17:30 น.

เนื้อหาที่เรียน / ความรุ้ที่ได้รับ
     อาจารย์สอนให้ทำสื่อแบบขยับได้
                                    







       
ประเมินตนเอง
    ตั้งใจและช่วยเพื่อนทำงานกลุ่มอย่างดี
ประเมินเพื่อน
    เพื่อนๆช่วยกันทำงานภายในกลุ่มอย่างสามัคคีกันเป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์
   อาจารย์ใจดี  อธิบายขั้นตอนการทำได้ชัดเจนและเตรียมอุปปรณ์ในการทำสื่อให้กับนักศึกษาอย่างครบถ้วน  

บันทึกครั้งที่ 5
วัน  จันทร์  ที่   28  กันยายน 2558
เวลาเรียน  14:30 - 17:30 น.




----ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากสอบกลางภาค----

บันทึกครั้งที่ 4
วัน  จันทร์  ที่   21  กันยายน 2558
เวลาเรียน  14:30 - 17:30 น.

เนื้อหาที่ได้เรียน / ความรู้ที่ได้รับ
   กิจกรรม 
   1. ระบายสีทำสื่อ
   2.  ประดิษฐ์ดอกไม้จากกระดาษทิชชู่






ประเมินตนเอง
   ตั้งใจเรียน และตั้งใจทำงาน
ประเมินเพื่อน
   เพื่อนๆ ตั้งใจทำงาน ตั้งใจทำผลงานให้ออกมาดีที่สุด
ประเมินอาจารย์
   อาจารย์ใจดี อธิบายละเอียด  เมื่อนักศึกษาทำไม่ได้อาจารย์ก็อธิบายให้ฟังใหม่  เดินถามนักศึกษาว่าทำได้รึป่าว ใส่ใจกับนักศึกษา อาจารย์ซักถามนักศึกษาตลอด

บันทึกครั้งที่ 3
วัน  จันทร์  ที่   14  กันยายน 2558
เวลาเรียน  14:30 - 17:30 น.


เนื้อหาที่ได้เรียน / ความรู้ที่ได้รับ
      กิจกรรม  
          1. ระบายสี
          2. ทำดอกไม้
     






ประเมินตนเอง 
      พอใจในผลงานตัวเอง  
ประเมินเพื่อน
      เพื่อนๆ ตั้งใจทำงาน แม้จะทำไม่ได้บ้าง แต่ก็มีความพยายามที่จะทำ
ประเมินอาจารย์
      อาจารย์อธิบายขั้นตอนการทำกิจกรรมต่างๆได้ละเอียดและเข้าใจ

บันทึกครั้งที่ 2
วันจันทร์  ที่  7  กันยายน  2558
เวลาเรียน  14:30 -17:30 น.


เนื้อหาที่ได้เรียน / ความรู้ที่ได้รับ
      กิจกรรมการเรียนการสอนวันนี้ อาจารย์สอนเนื้อหาบทที่ 3  เรื่อง  การเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย

         “สื่อ” หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบๆ ตัวเด็ก คือ สิ่งที่มีชีวิต สิ่งที่ไม่มีชีวิต สิ่งที่ประดิษฐ์ขึ้น ได้แก่ คน สัตว์ พืชผัก ผลไม้ สิ่งของเครื่องใช้ เครื่องเล่น วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เทป ยานพาหนะ ฯลฯ สิ่งที่เหล่านี้เมื่อเด็กได้พบเห็น หรือจับต้องก็จะทำให้เกิดการเรียนรู้ ทั้งมีส่วนช่วยให้เด็กพัฒนาทางกาย อารมณ์
– จิตใจ สังคม และสติปัญญา   คุณหญิงเบญจา แสงมลิ
ลักษณะของสื่อ
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ได้แบ่งสื่อ ออกเป็น 3 ประเภท
    1. สื่อการสอนประเภทวัสดุ สามารถจำแนกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 2 กลุ่ม
1.1 วัสดุการสอนที่ครูจัดทำหรือจัดหามา
1.2 วัสดุการสอนที่มีผู้จัดทำจำหน่าย
   1.2.1 สิ่งพิมพ์
   1.2.2 ภาพชุด
   1.2.3 เทปโทรทัศน์
   1.2.4 เทปเสียง
2.สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
  2.1 เครื่องเสียง
  2.2 อุปกรณ์ประกอบเครื่องฉาย
  2.3 อุปกรณ์ที่ไม่เกี่ยวกับการใช้เสียงหรือให้ภาพ
3. สื่อการสอนประเภทวิธีการ
  3.1 การสาธิต    
  3.2 การทดลอง  
  3.3 เกม  
  3.4 การแสดงบทบาทสมมติ
  3.5 การจำลองสถานการณ์    
   3.6 การฝึกปฏิบัติจริงหลังการสนทนาเนื้อหา
  3.7 ทัศนศึกษา    
  3.8กิจกรรมอิสระ   
   3.9 กิจกรรมที่จัดขึ้นตามโครงการ

ความสำคัญของสื่อการสอนระดับปฐมวัย
1) สื่อเป็นหัวใจของการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมให้เด็ก ได้รับประสบการณ์ตรง
2) สื่อช่วยให้เด็กได้เรียนรู้จากสิ่งที่เป็นรูปธรรม และเกิดมโนทัศน์ตรงกับข้อเท็จจริง
3) ช่วยสร้างความสนใจของเด็กและเป็นสิ่งเร้าให้เด็กสนใจที่จะทำกิจกรรมและเกิดการเรียนรู้ได้ดี
4) ช่วยให้เด็กจดจำสิ่งต่าง ๆ ได้ง่ายและไม่ลืม
5) ช่วยอธิบายสิ่งที่ยากให้เข้าใจง่าย ช่วยให้คุณภาพการเรียนรู้ดีขึ้น

ลักษณะของสื่อการสอนระดับปฐมวัย
1.มีลักษณะที่สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก
2.มีขนาดเหมาะสมกับเด็กและขนาดของมือเด็ก
3.มีคุณค่าต่อพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของเด็ก
4.ใช้ประสาทสัมผัสได้มากและหลายส่วน
5.มีสีสันสวยงาม สดใสไม่สะท้อนแสง
การจัดระบบสื่อเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
1. การเลือกสื่อ
       1.1 มีความปลอดภัย
       1.2 คำนึงถึงประโยชน์  
       
       1.3 ความประหยัด
       1.4 ด้านประสิทธิภาพ
2. วิธีการเลือกสื่อ
      2.1 เลือกให้ตรงกับจุดมุ่งหมาย
      2.2 เลือกให้เหมาะสมกับวัยและความสามารถ
      2.3 เลือกใช้ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่น
     2.4 มีวิธีการใช้ง่าย ๆ และนำไปใช้ได้หลาย ๆ วิธี
     2.5 มีความถูกต้องตามเนื้อหาและมีความทันสมัย
หลักการผลิตสื่อการเรียนการสอน
     1. สำรวจความต้องการในการใช้สื่อ
     2. วางแผนในการผลิต
     3. ดำเนินการผลิตตามรูปแบบที่ได้วางแผนไว้
     4. ทดสอบคุณสมบัติของสื่อที่ผลิตขึ้น
     5. นำสื่อที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปใช้จริง
  ขั้นตอนการใช้สื่อ
      1) เตรียมตัวครู
      2) เตรียมตัวเด็ก
      3) เตรียมสื่อ
การนำเสนอสื่อ
     1. สร้างความพร้อมและเร้าความสนใจ
     2. ใช้สื่อตามลำดับขั้นของแผนการจัดกิจกรรม
     3. ควรอยู่ด้านข้างหรือด้านหลังของสื่อที่ใช้ ไม่ควรยืนหันหลังให้เด็ก
     4. ไม่ควรให้เด็กเห็นสื่อหลาย ๆ ชนิดพร้อมกัน
     5. เปิดโอกาสให้เด็กได้ร่วมกิจกรรมในการใช้สื่อนั้น
     6. ควรสังเกต หรือให้ความสนใจคำถาม คำพูดของเด็ก
การประเมินการใช้สื่อ
     1. สื่อนั้นช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้เพียงใด
     2. เด็กชอบสื่อชนิดนั้นเพียงใด
     3. สื่อช่วยให้การสอนนั้นสอนได้ตรงกับจุดมุ่งหมาย
     4. สื่อนั้นช่วยให้เด็กสนใจมากน้อยเพียงใด และสนใจเพราะเหตุใด
การเก็บรักษาและซ่อมแซมสื่อ
    1. ควรตรวจสอบสื่อหลังจากที่ใช้แล้วทุกครั้ง ว่ามีสภาพสมบูรณ์
    2. ควรฝึกให้เด็กช่วยกันเก็บรักษาสื่อของครู
    3. เก็บสื่อให้เป็นระเบียบและเป็นหมวดหมู่
    4. ฝึกให้เด็กหยิบสื่อออกมาใช้ได้เอง และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
    5. ควรซ่อมแซมสื่อที่ชำรุด

สรุป สื่อ การเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย
         เครื่องเล่นของเด็กมีความสำคัญในการพัฒนาร่างกายและจิตใจของเด็กและเยาวชน ผู้ทำหน้าที่เป็นแพทย์หรือบุคลากรการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับเด็ก ควรศึกษาและให้ความสนใจในเรื่องเครื่องเล่นพอสมควรทั้งนี้เพื่อจะได้ให้คำแนะนำปรึกษาเกี่ยวกับการเลือกสรรและจัดหาเครื่องเล่นให้ถูกต้องเหมาะสมกับผู้เล่นตลอดจนหาทางช่วยส่งเสริมการผลิตเครื่องเล่นให้มากขึ้นภายในประเทศโดยทางอ้อมต่อไป

วิเคราะห์สื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย


ประเมินตนเอง
     วันนี้ตั้งใจเรียน และให้ความร่วมมือกับเพื่อนในกลุ่มกับการวิเคราะห์สื่อการเรียนรู้หน้าชั้นเรียน
ประเมินเพื่อน
     วันนี้เพื่อนๆแต่ละกลุ่ม ร่วมกันวิเคราะห์สื่อ และตั้งใจเรียนเป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์
     อาจารย์อธิบายเนื้อหาได้ละเอียดดีมากค่ะ เข้าใจง่าย
การบันทึกครั้งที่ 1
วันจันทร์ ที่ 31  สิงหาคม  พ.ศ. 2558
เวลาเรียน  14:30 - 17:30 น.


เนื้อหาที่ได้เรียน / ความรู้ที่ได้รับ

        วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษานำสื่อมาคนละ 1 ชิ้น และ วาดรูปสื่อและอธิบายว่าสื่อที่เอามา เล่นยังไง เป็นสื่อประเภทไหน  ไปลงในใบงาน พร้อมทั้งให้นักศึกษาจับกลุ่มเลือกสื่อที่คิดว่าดีที่สุดมา 1 สื่อ แล้วนำมานำเสนอหน้าชั้นเรียนในคาบถัดไป


ประเมินตนเอง
        วันนนี้ตั้งใจเรียนและตั้งใจทำงานที่อาจารย์มอบหมายให้อย่างเสร็จสมบูรณ์
ประเมินเพื่อน
        วันนี้เพื่อนๆตั้งใจเรียน ตั้งใจทำงาน มีความรับผิดชอบ เอาสื่อมาตามที่อาจรย์บอกทุกคน 
ประเมินอาจารย์
        อาจารย์ใจดีมากๆ  สอนไม่เครียด ไม่กดดัน สบายๆ